วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การหาแรงลัพธ์โดยวิธีคำนวณ

วิธีที่ 1   ใช้การแตกแรงหรือแยกแรง • 
      การแตกแรงหรือแยกแรง คือการแยกแรง แรงออกเป็นแรงองค์ประกอบ แรงซึ่งตั้งฉากกันอยู่ตามแนวแกน และแกน y

 
เป็นขนาดของแรงที่มี ทำมุม q  กับแกนนอนหรือแกน x
Fx  เป็นขนาดของแรงตามแนวแกน x
Fy  เป็นขนาดของแรงตามแนวแกน y








้่่้้้้้้้้้้้้้้่้เ้้เ่้เอ่าน

แรง(Force) คือ
          อำนาจอย่างหนึ่งที่ทำให้วัตถุหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ได้ หรือกล่าวได้ว่าแรงสามารถทำให้วัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ แรงเป็นปริมาณเวคเตอร์ (ปริมาณที่ต้องบอกขนาดและทิศทาง)
 
 หน่วยของแรง คือ นิวตัน < Newton สัญลักษณ์ N > 
           ถ้ามีแรงหลาย ๆ แรงมากระทำต่อวัตถุเดียวกัน ในเวลาเดียวกัน เสมือนกับว่า มีแรงเพียงแรงเดียวมากระทำต่อวัตถุนั้น เรียกแรงเสมือนแรงเดียวนี้ว่า แรงลัพธ์(หรือกล่าวได้ว่าแรงลัพธ์คือผลรวมของแรงหลาย ๆแรงที่กระทำต่อวัตถุนั้น ) 
 การหาแรงลัพธ์ เนื่องจากแรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ดังนั้น อ่านเพิ่มเติม


กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ข้อ 1 ของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ข้อ 1 ของนิวตัน (Newton’s first law of motion) หรือกฎของความเฉื่อย กล่าวว่า“วัตถุจะรักษาสภาวะอยู่นิ่งหรือสภาวะเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอในแนวเส้นตรง นอกจากมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำ”[6]คือ ถ้าวัตถุอยู่นิ่งก็ยังคงอยู่นิ่งเหมือนเดิม และถ้าวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ก็จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ความเร็วคงที่ หรือความเร่งจะเป็นศูนย์ ซึ่งกรณีแรกจะเรียกว่า วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลสถิต (static equilibrium) และอีกกรณีหลังจะเรียกว่า วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลจลน์ (kinetic equilibrium) [7]มีสมการเป็นดังนี้ ∑F=0 Fคือ แรงลัพธ์ทั้งหมด อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ นิวตัน

แรงและกฎการเคลื่อนที่

สภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
สภาพการเคลื่อนที่คงเดิม หมายถึง อาการที่วัตถุอยู่นิ่งหรือมีความเร็วคงที่ เช่น นักเรียนคนหนึ่งยืนอยู่นิ่ง  บนพื้น เป็นต้น
สภาพการเคลื่อนที่เปลี่ยนแปลง หมายถึงอาการที่วัตถุมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง เช่น นักเรียนคนหนึ่งกำลังออกวิ่ง รถยนต์กำลังเบรกกะทันหัน เป็นต้น
 สภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุมีอ อ่านเพิ่มเติม



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ แรงและการเคลื่อนที่ ฟิสิกส์





อัตราเร็ว (speed)PDFพิมพ์
       คือระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ตัวอย่างเช่น รถไฟวิ่งด้วยอัตราเร็ว 5 เมตร/วินาที ถ้าวัตถุนั้นไม่เปลี่ยนอัตราเร็วตั้งแต่ต้นจนปลายทาง เรียกว่า เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ แต่ถ้าค่อยๆ เปลี่ยนแปลงอัตราเร็วไปเรื่อยๆ เราก็สามารถหาอัตราเร็วเฉลี่ยได้จากสูตร            อัตราเร็วเท่ากับ = ระยะทางที่ได้ / เวลาที่ใช้ไปทั้งหมด

                               v = s / t
        อัตราเร็วมีหน่วยเป็น เมตร/วินาที (m/s) และเป็นปริมาณสเกลาร์ คือ มีขนาดแต่ไม่มีทิศทาง เครื่องมือที่ใช้วัดความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวตรงคือ เครื่องเคาะสัญญาณเวลา โดยเครื่องจะบันทึกเวล อ่านเพิ่มเติม



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ อัตราเร็วฟิสิกส์



ความเร่ง

ความเร่ง (Acceleration)
ถ้าพิจารณาแล้วพบว่าในแต่ละหน่วยเวลาของการเคลื่อนที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วหรือความเร็วที่แตกต่างกัน กล่าวว่า วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่ง หรือ ความเร่ง
วัตถุที่มีความเร่งมี 3 ลักษณะ คือ
1. อัตราเร็วคงที่ แต่เปลี่ยนทิศทาง
2. อัตราเร็วเปลี่ยนแต่ทิศทางคงเดิม
3. เปลี่ยนทั้งอัตราเร็วและทิศทาง
ความเร่ง (Acceleration) คือ ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลา หรืออัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที2
การเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วย อ่านเพิ่มเติม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความเร่งฟิสิกส์

สูตรการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

รู้จักกับตัวแปรที่ใช้ในเรื่องนี้
u=ความเร็วต้น *ถ้าเริ่มจากหยุดนิ่ง ความเร็วต้นจะเป็น 0 มีหน่วยเป็น m/s (เมตรต่อวินาที)
v=ความเร็วปลาย มีหน่วยเป็น m/s (เมตรต่อวินาที)
a=ความเร่ง มีหน่วยเป็น m/s (เมตรต่อวินาที)
t=เวลา มีหน่วยเป็น s (วินาที)
s=ระยะกระจัด มีหน่วยเป็น m (เมตร)  อ่านเพิ่มเติม
สูตรการเคลื่อนที่

สมการการเคลื่อนที่แนวตรง

สมการการเคลื่อนที่แนวตรง

การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง การเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วยความเร่งคงที่ มีสูตรดังนี้ s = vt u = ความเร็วเริ่มต้น (m/s) v = ความเร็วตอนปลาย (m/s ) s = ระยะทาง(m) a = ความเร่ง ( m/s2) การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้แรงดึงดูดของโลก 1.v = u – gt u = ความเร็วต้น เป็น + เสมอ v = ความเร็วปลาย + ถ้าทิศเดียวกับ

ปริมาณต่างๆของการเคลื่อนที่

ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แนวตรง ตำแหน่ง (position) คือ จุดที่บอกให้ทราบว่าวัตถุหรือสิ่งของ อยู่ทีใดเมื่อเทียบกับจุดอ้างอิง ระยะทาง (distance) คือ ความยาวที่วัดตามเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุจากตำแหน่งเริ่มต้น ถึงตำแหน่งสุดท้าย จัดเป็นปริมาณสเกลลาร์ มีหน่วยเป็นเมตร การกระจัด (displacement) คือ ระยะที่วัดเป็นเส้นตรงจากจุดตั้งต้นของการเคลื่อนที่ ตรงไปยังตำแหน่งสุดท้ายที่วัตถุอยู่ในขณะนั้น โดยไม่สนใจว่าวัตถุจะมีเส้นทางการเคลื่อนที่เป็นอย่างไร จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็นเมตร ข้อสังเกต การเคลื่อนที่โดยทั่วๆไป ระยะทางจะมากกว่าการกระจัดเสมอ ยกเว้นเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง การกระจัดจะมี อ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559

หน่วยเอสไอ


หน่วยเอสไอ ( SI = Systeme International d ' Unites ) เป็นระบบหน่วยระหว่างชาติใช้วัดปริมาณทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2503 ระบบหน่วยระหว่างชาติประกอบด้วยหน่วยฐานและหน่วยอนุพันธ์
ก. หน่วยฐาน เป็นหน่วยหลักของหน่วยเอสไอ มี 7 หน่วย ดังตาราง 2.7





ข. หน่วยอนุพันธ์ เป็นหน่วยที่เกิดจากหน่วยฐานหลายหน่วยรวมกัน เช่น แรง ความดัน งานพลังงานกำลัง เป็นต้น ดูภาคผนวก


ค. คำอุปสรรค ในกรณีที่หน่วยฐานหรือหน่วยอนุพันธ์มีค่ามากหรือน้อยเกินไป เราจะใช้คำอุปสรรค (prefixes) เขียนวางไว้หน้าหน่วยนั้น โดยมีหลักว่า


• ใช้คำอุปสรรคครั้งเดียวโดยไม่ต้องเขียนซ้อนกัน
เมื่อใช้คำอุปสรรควางหน้าหน่วยใดแล้วเวลายกกำลังไม่ต้องใส่วงเล็บอ่านเพิ่มเติม